พระไตรปิฎกออนไลน
Advertisement
เจตสิก ความหมาย ลักษณะ กิจ ผล เหตุใกล้
ผัสสเจตสิก การกระทบอารมณ์ การกระทบอารมณ์ การประสานอารมณ์ วัตถุ วิญญาณ การประชุมพร้อมกัน อารมณ์ปรากฏ
สุขเวทนาเจตสิก ความสุขความสบาย ทางกาย การสัมผัส ถูกต้องกับ อารมณ์ที่ดี การทำให้ สัมปยุตตธรรมเจริญ ความชื่นชมยินดี ทางกาย กายประสาท
ทุกขเวทนาเจตสิก ความทุกข์ยาก ลำบากกาย การสัมผัส ถูกต้องกับ อารมณ์ที่ไม่ดี การทำให้ สัมปยุตตธรรม เศร้าหมอง การอาพาธทางกาย กายปสาท
โสมนัสเวทนาเจตสิก ความสุข ความสบายใจ การเสวย อารมณ์ที่ดี การทำจิต ให้อยู่ร่วมกับ อารมณ์ที่ดี ความชื่นชมยินดี ทางใจ ความสงบกาย สงบใจ
โทมนัสเวทนาเจตสิก ความทุกข์ใจ การเสวย อารมณ์ที่ไม่ดี การตามเสวยอารมณ์ ด้วยอาการ ที่ไม่พอใจ ความอาพาธ ทางใจ หทัยวัตถุ
อุเบกขาเวทนาเจตสิก ความรู้สึกเฉย ๆ ไม่ทุกข์ ไม่สุข การเสวย อารมณ์ปานกลาง การรักษา สัมปยุตตธรรม ไม่ให้เจริญ ไม่ให้เศร้าหมอง ความเฉย ๆ จิตที่ไม่ยินดี
สัญญาเจตสิก ธรรมชาติ ที่จำหมายอารมณ์ ความจำ การหมายไว้ และจำได้ ความจำได้ ในสิ่งที่หมายไว้ อารมณ์ที่ปรากฏ
เจตนาเจตสิก การแสวงหา หรือขวนขวาย ที่จะให้เป็นไป ในอารมณ์ หรือ ความตั้งใจ การชักชวน การขวนขวาย การจัดแจง นามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ
เอกัคคตาเจตสิก ธรรมชาติ ที่จิตตั้งมั่น อยู่ในอารมณ์เดียว การไม่ฟุ้งซ่าน การรวบรวม สหชาตธรรม ความสงบ สุขเวทนา
ชีวิตินทรียเจตสิก นามธรรม ที่มีหน้าที่ รักษานามธรรม ที่เกิดพร้อมกับจิต ให้ตั้งอยู่ ตามอายุของตน การเลี้ยง รักษาธรรม ที่เกิดร่วมกัน พร้อมกัน ความตั้งอยู่ และเป็นไปได้ การทรงอยู่ได้ ซึ่งธรรม ที่เกิดร่วมกัน พร้อมกัน นามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ
มนสิการเจตสิก การกระทำอารมณ์ ให้แก่จิต หรือความใส่ใจ ในอารมณ์ การทำให้ ธรรมที่เกิดร่วมกัน พร้อมกัน (สัมปยุตตธรรม) ใส่ใจ ในอารมณ์ การทำให้ สัมปยุตตธรรม ประกอบ ในอารมณ์ การทำให้ สัมปยุตตธรรม ให้มีหน้าที่ เฉพาะอารมณ์ อารมณ์
วิตกเจตสิก การยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ การยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ การกระทำให้จิต กระทบอารมณ์ บ่อยๆ จิตที่ทรง อยู่ในอารมณ์ นามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ
วิจารเจตสิก การประคองจิต ให้อยู่ในอารมณ์ การพิจารณา อารมณ์ บ่อยๆ การทำให้ สหชาตธรรม ประกอบในอารมณ์ การตกแต่งจิต ให้อยู่ในอารมณ์ นามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ
อธิโมกขเจตสิก ธรรมชาติ ที่ทำให้จิตตัดสิน ในอารมณ์ การสันนิษฐาน อารมณ์ การไม่โยก ไม่คลอน การตัดสิน สันนิษฐานธรรม
วิริยเจตสิก ความเพียร เพื่อให้ได้อารมณ์ ความอุตสาหะ การอุดหนุน ค้ำชู สหชาตธรรม การไม่ย่อท้อ ถดถอย ความสลด
ปีติเจตสิก ความปลาบปลื้ม หรืออิ่มใจ ในอารมณ์ ความอิ่มใจ การทำให้ กายและใจ อิ่มเอิบ กายและใจ เฟื่องฟู นามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ
ฉันทเจตสิก ความพอใจ ในอารมณ์ ความปลงใจ ที่จะทำ์ ความปรารถนา เพื่อจะกระทำ การแสวงหาอารมณ์ ความปรารถนาอารมณ์ อารมณ์
โมหเจตสิก ธรรมชาติ ที่เป็นความหลง ความไม่รู้จริง ตามสภาวะ ของอารมณ์ การไม่รู้ การปกปิดไว้ ซึ่งสภาวะ แห่งอารมณ์ ความมืดมนธ์ การไม่เอาใจใส่เป็นอันดี ต่ออารมณ์นั้น

อ้างอิง[]

Advertisement